วันจันทร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

งานครั้งที่ 9 แล็กเซอร์

งานชิ้นที่ 9 แล็กเชอร์
หลักการสร้างสื่อ เพื่อการนำเสนอที่ดี 26 ม.ค 53 ตัวอย่างกรณีศึกษา สื่อไตเติ้ลรายการ ศิลปะในการนำเสนอไม่ได้จำกัดอยู่เพียงแต่ มุมกล้องการจัดแสงที่สวยงาม สื่ออารมณ์และความหมายภามที่ผู้ผลิต รายการต้องการเท่านั้นยังมีศิลปะของการนำเสนออีกรูปแบบหนึ่งที่ทุกรายการจะขาดเสียมิได้ นั้นดี ๆส่วนที่เรียกว่าเป็น ส่วนประกอบรายการ อันได้แก่ไตเติ้ล ตัวอย่างรายการ อินเตอร์ลูดหรือคีซีน และท้ายรายการ


ไตเติ้ล คือ ส่วนประกอบรายการโทรทัศน์ ที่ทำหน้าที่บอกชื่อรายการโดยปกติจะอยู่ ในส่วนแรกสุด ของรายการ
1. รูปแบบการนำเสนอ
2. ลักษณะของภาพ
3. ทัศนสารที่ใช้สร้างเรื่อง
4. ตัวอักษรชื่อรายการ
5. ลำดับการนำเสนอ
6. การใช้เสียง
7. ความยาว
8. ลีลา

1. รูปแบบการนำเสนอไตเติ้ลรายการคือวิธีการเล่าเรื่องด้วยภาพที่ปรากฎในไตเติ้ลรายการ ในไตเติ้ล
1.1 การใช้ชื่อรายการ มีการใช้เฉพาะชื่อรายการเท่านั้นในการนำเสนอโดยปราศจากภาพ ที่จะช่วยขยายความหรื่อเล่าเรื่อง
1.2 การใช้สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ เป็นสิ่งที่ใช้แทนความหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป
1.3 การนำเสนอบุคคล การนำเสนอบุคคลในไตเติ้ล รายการมี 3 ลักษณะคือ การแนะนำ ผู้ดำเนินรายการ หรือพิธีกร การแนะนำนักแสดง และการแนะนำแขกรับเชิญ
1.4 การใช้ภาพแสดงเนื้อหา ภาพแสดงเนื่อหาที่ใช้เป็นรูปของการนำเสนอไตเติ้ลทำให้ผู้ชมทราบได้เป็นอย่างดี
1.5 การสร้างโครงเรื่อง โดยปกติแล้วโครงเรื่องเป็นส่วนประกอบสำคัญของการเล่าเรื่องในรูปแบบละคร

2. ลักษณะของภาพไตเติ้ล
2.1 ชนิดภาพมีการสร้างสรรค์ ภาพโดยใช้ภาพที่ถ่ายจริง มักเป็นไตเติ้ล
2.2 มุมกล้องภาพ ที่ปรากฏมักเป็นภาพประเภท simple shot คือเป็นภาพที่มีเพียงวัตถุเท่านั้นที่เคลี่อนไหวdeveloping shot เป็นภาพที่ประกอบขึ้นจากการเคลื่อนไหวของเลนน์complex shot เป็นภาพที่ประกอบขึ้นจากการเคลื่อนไหวของเลน
2.3 ลำดับภาพ คือวิธีการเรียงร้อยภาพเข้าไว้ด้วยกันเพื่อสื่อสารไปยังผู้ชมการซ้อนภาพการตัดภาพ เป็นการนำภาพหนึ่งไปต่อท้ายภาพอีกภาพหนึ่งการจางซ้อนภาพ เป็นการนำภาพหนึ่ง ไปเชื่อมกับอีกภาพหนึ่งโดยที่ในช่วงการเชื่อมต่อ ช่วงท้ายของภาพแรกค่อย ๆจางภาพไปการกวาดภาพ เป็นการนำภาพหนึ่งไปเชื่อมกับอีกภาพหนึ่ง โดยช่วงการเชื่อมต่อยังคงเห็นทั้งสองภาพ มีความชัดเท่ากัน

3. ทัศนสารที่ใช้สร้างเรื่องได้แก่ พื้นที่ เส้น รูปร่าง ความเข้ม สี การเคลื่อนไหว และจังหวะ
3.1 พื้นที่
3.2 เส้น ปรากฏอยู่ในทุก ๆส่วนของภาพ เพราะเมื่อมีความแตกต่างของความเข้มสีหรือสีตัด กันอย่างชัดเจนเส้นสีปรากฏเส้นที่พบเห็นในไตเติ้ล
3.3 รูปร่าง การใช้รูปร่างพื้นฐาน ได้แก่ วงกลม สี่เหลี่ยมและสามเหลี่ยม สำหรับรูปร่างพื้นฐาน สองมิติ และทรงกลมลูกบาศน์
3.4 สี และความเข้มสี สีแต่ละสีให้อารมณ์

สีแดง ความตื่นเต้นเร้าใจ
สี่เหลือง ดูสดใส ศักดิ์สิทธิ์
สีน้ำเงิน หนักแน่น มีราคา
สีฟ้า ให้ความสุขสบาย โปร่ง
สีเขียว ให้ความรู้สึกสดชื่น
สีม่วง มีเสน่ ลึกลับ
สีชมพู รู้สึกนุ่มนวล

งานครั้งที่ 8 ออกแบบป้ายโฆษณา (แบนเนอร์)

ข้อมูล

1 ชื่อศิลปิน T BONE



















2 ข้อมูล

ทีโบน เป็นวงเร็กเก้-สกาที่อยู่ในวงการเพลงไทยมากว่า 20 ปี เจ้าของเพลงฮิต เธอเห็นท้องฟ้านั่นไหม

สมาชิกวงปัจจุบันประกอบด้วยสมาชิก 9 คน

เจษฎา ธีระภินันท์ (แก๊ป) ร้อง
นครินทร์ ธีระภินันท์ (กอล์ฟ) กีตาร์
ศุภวัฒน์ ปานพุ่ม (เล็ก) กลอง
กฤษณ์ ธรรมโชติกา (หนุ่ม) เพอร์คัชชัน (เครื่องเคาะ/เครื่องประกอบจังหวะ)
วิชญ วัฒนศัพท์ (โหน่ง) คีย์บอร์ด
ณัฐพล มานิกัมปิลไล (ซันนี่) กีตาร์เบส
พิสุทธ์ ประทีปะเสน (อ้น) เทเนอร์แซกโซโฟน
ธีรัช เลาห์วีระพานิช (กุ๊ก) บาริโทนแซกโซโฟน
สฤษฎ ตันเป็นสุข (ฤษฎ) ทรัมเป็ต








ประวัติวงทีโบน

เริ่มต้นวงยุคแรกจากการเล่นประจำที่ร้านบลูมูน และร้านบลูยีนส์ โดยชื่อวง ‘ทีโบน’ นั้นนำมาจากป้ายชื่อยีห้อของกางเกงยีนส์ที่ แก๊ป-เจษฎา ธีระภินันท์ ออกแบบขาย ต่อมาทีโบนได้ไปแจมเล่นอะคูสติกกับ โอ๋ (ธีร์ ไชยเดช) ที่ร้านแซ็กโซโฟน ซึ่งเล่นมาจนถึงวันนี้นับเป็นเวลาร่วม 20 กว่าปีแล้ว และด้วยประโยค “สนใจมาเป็นซูปเปอร์สตาร์มั้ย?” คำชวนแบบทีเล่นทีจริงจาก จิก (ประภาส ชลศรานนท์) ที่มองเห็นความสามารถของวงนี้ และชักชวนให้ทีโบนเข้ามาอยู่ในวงการเป็นศิลปินออกเทปทำงานด้วยกัน จึงทำให้เกิด ‘ทีโบน’ ชุดแรกขึ้นมา

หลังจากออกจากค่ายโซนี่ มิวสิก ทีโบนก็มาสร้างค่ายเพลงของตัวเองในชื่อ หัวลำโพง ริดดิม แล้วออกอัลบั้มชุด ‘Live!’ กับซีดีบันทึกการแสดงสดเพียงเท่านี้ แต่สมาชิกในวงยังมีผลงานเดี่ยวของตัวเอง อาทิ แก๊ป ทีโบน กับซิงเกิ้ล GA-PI DUBKITCHEN และ หนุ่ม ทีโบน กับซิงเกิ้ล NUM T-BONE XXX เป็นต้น โหน่งได้ทำวงดนตรีในแนว electronic lounge music ในนาม The Photo Sticker Machine ถึงแม้ว่าสมาชิกในวงจะมีผลงานออกมา แต่วงทีโบนยังรวมตัวเล่นดนตรีกันอย่างเหนียวแน่น และเมื่อเปิดการแสดงครั้งใดวงทีโบนก็ยังได้รับการสนับสนุนจากแฟนเพลงอย่างสม่ำเสมอ ไม่เคยขาด


3.กลุ่มเป้าหมาย

เพศชาย เพชหญิง อายุ 25 - 35 ปี มีความรักอิสระ มีมุมมองที่แตกต่าง

4. Concept

coffeer Love T BONE


5. อารมณ์และความรู้สึก




สบายๅ












ร่าเริง














จิตนาการ










งานครั้งที่ 7 การทำโปรแกรม Adobe Illustrat

การทำตัวหนังสือใน Adobe Illustrat



  1. เปิดโปรแกรม Adobe Illustrat

  2. สร้างหน้ากระดาษใหม่ขึ้นมา

  3. สร้างตัวหนังสือโดยการคลิก Type Tool

  4. แล้วคลิกไปในพื้นที่ที่ต้องการ

  5. พิมพ์ข้อความหรือตัวหนังสือลงไป

  6. เมื่อเราได้ข้อความที่ต้องการแล้ว เราสามารถย่อขยายตัวหนังสือได้ โดยการ คลิกไปที่มุมของตัวหนังสือ

  7. สามารถปรับขนาดตัวหนังสือ เปลี่ยนแบบอักษรได้ โดยไปปรับที่ Chareacter

  8. สามารถปรับรูปแบบตัวอักษรให้มีลักษณะต่างได้ เช่น ตัวโค้ง รูป ต่างๆ ได้ คลิก Effeet/warp/ARC

  9. แล้วยังเปลี่ยนสีตัวอักษรได้ คลิกที่ Fill

  10. เปลี่ยนสีเส้นขอบ คลิก Stroke

งานครั้งที่ 6 การสร้างสรรคผลงาน

การสร้างสรรค์ผลงาน
หลักการสร้างสื่อเพื่อนำเสนอที่ดีสื่อป้ายโฆษณาบนเว็บ คือ รูปแบบหนึ่งของการโฆษณาบนเวิลต์ ไวด์ เว็บ เป็นการวางภาพโฆษณาลงไปบนหน้าเว็บแล้วทำลิงค์กลับไปยังเว็บที่โฆษณาขนาดของแบนเนอร์ที่เป็นที่นิยม ได้แก่ 728*90 Pixelตำแหน่งแบนเนอร์ที่เหมาะสมที่สุด ได้แก่ ด้านบนถัดลงมาองค์ประกอบที่ใช้ในการออกแบบแบนเนอร์มี 6 ชนิด ได้แก่1.พาดหัว2.ข้อความโฆษณา3.ภาพประกอบ4.สัญลัษณ์ของผู้โฆษณา5.สี6.การเคลื่อนไหวและการใช้สีประกอบหลักการออกแบบแบนเนอร์ที่ดี ได้แก่

1.ตัวอักษร
- พาดหัว 48 pt ข้อความ 32pt
- รูปแบบเหมาะสมสอดคล้องกับบุคลิก

2.สัญลักษณ์
-เน้น logo
-ไม่เน้นlogo

3.ภาพประกอบ
- ควรใช้ภาพกราฟฟิก (ลายเส้น)

4.สี
- พื้นหลังและตัวอักษรควรตัดกันให้เด่นชัด
- จับคู่สีให้เหมาะสม ไม่ควรเกิน 2-3 สี

5.การจัดวาง
-การใช้เส้นไกด์หรือตารางกริด

งานครั้งที่ 5 ภาพโฆษณา

กล้า....ไปกับ YAMAHA